บันทึกครั้งที่ 3
วัน อังคาร ที่ 23 สิงหาคม พ. ศ. 2559 เวลา 08.30 - 12.30 น.
คุณครูได้มอบหมายงานให้นักศึกษา สรุปความรู้เรื่องรูปแบบการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
สรุปได้ดังนี้
รูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย
คุณลักษณะตามวัยของเด็ก
เด็กที่มีอายุ 3 ปี
พัฒนาการด้านร่างกาย
- วิ่งแล้วหยุดโดยไม่ล้ม
- รับลูกบอลด้วยมือและลำตัว
- เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้
- วาดและระบายสีอิสระได้
พัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ
- แสดงอารมณ์ตามความรู้สึก
- ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้คำติชม
- กลัวการพลัดพรากจากผู้เลี้ยงดู ผู้ใหญ่ใกล้ชิดน้อยลง
พัฒนาการด้านสังคม
- รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง
- ชอบเล่นแบบคู่ขนานคือเล่นของเล่นชิ้นเดียวกันแต่ต่างคนต่างเล่น
- เล่นบทบาทสมมติได้
- รู้จักรอคอย
พัฒนาการด้านสติปัญญา
- สำรวจสิ่งต่างๆที่เหมือนกันและแตกต่างกันได้
- บอกชื่อของตนเองได้
- ขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาได้
- สนทนาโต้ตอบ เล่าเรื่องด้วยประโยคสั้นๆได้
- สนใจนิทานและเรื่องราวต่างๆ
เด็กที่มีอายุ 4 ปี
พัฒนาการด้านร่างกาย
- กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้
- รับลูกบอลด้วยมือทั้งสองข้าง
- เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้
- ตัดกระดาษเป็นเส้นตรงได้
- กระฉับกระเฉงไม่ชอบอยู่เฉย
พัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ
- แสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
- เริ่มรู้จักชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
- ชอบทาทายผู้ใหญ่
- ต้องการให้มีคนฟังคนสนใจ
พัฒนาการด้านสังคม
- แต่งตัวได้ด้วยตนเอง ไปห้องน้ำได้เอง
- เล่นร่วมกับผู้อื่นได้รอคอยตามลำดับก่อน-หลัง
- แบ่งของให้คนอื่น
- เก็บของเล่นเข้าที่ได้
พัฒนาการทางสติปัญญา
- จำแนกสิ่งต่างๆด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้
- บอกชื่อและนามสกุลของตนเองได้
- พยายามแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหลังจากได้รับคำชี้แนะ
- สนทนาโต้ตอบ เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่างต่อเนื่อง
เด็กที่มีอายุ 5 ปี
พัฒนาการด้านร่างกาย
- กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องได้
- รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นได้ด้วยมือทั้งสอง
- เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าอย่างคล่องแคล่ว
- เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
- ตัดกระดาษแนวเส้นโค้งที่กำหนด
- ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กได้ดี
พัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ
- แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสม
- ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
- ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางน้อยลง
พัฒนาการด้านสังคม
- ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
- เล่นหรือทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
- พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้ทำความเคารพ
- รู้จักขอบคุณเมื่อได้รับของจากผู้ใหญ่
- รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
- พัฒนาการด้านสติปัญญา
- บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง จำแนกและจัดหมวดหมู่สิ่งของได้
- บอกชื่อนามสกุลและอายุของตนเองได้
- พยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
- สนทนาโต้ตอบเล่าเป็นเรื่องราวได้
ทฤษฎีการเรียนรู้
การทดลองของพาฟลอฟ
1. สุนัข (กำลังหิวจัด)
2. เครื่องวัดน้ำลาย
3. ผงเนื้อ
4. กระดิ่ง
ขั้นการทดลอง
1 วางเงื่อนไข
1.1 ให้ผงเนื้อ , น้ำลายไหล
1.2 เคาะกระดิ่ง , น้ำลายไม่ไหล
2 ขณะกำลังวางเงื่อนไข
2.1 ให้ผงเนื้อ+เคาะกระดิ่ง, น้ำลายไหล
3 หลังจากการวางเงื่อนไข
3.1 เคาะกระดิ่ง,น้ำลายไหล
จากทฤษฎีนี้สำหรับเด็กปฐมวัย ควรใช้คำชมแทน
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน การทดลองของวัตสัน
- ความรู้สึกบางอย่างมีตั้งแต่กำเนิด
- อุปกรณ์ทดลอง
- เด็กชายอัลเบิร์ต อายุ 11 เดือน
- หนูขาว
- เหล็ก
การทดลอง
1. อัลเบิร์ต เล่นกับหนูขาว
- ยิ้มแย้มอย่างมีความสุข
2. ตีเหล็กให้เกิดเสียงดังทุกครั้งที่อัลเบิร์ตจะจับหนูขาว
- ร้องไห้กลัว
3. ยื่นหนูขาวอย่างเดียวให้อัลเบิร์ต
- ร้องไห้กลัว
การวางเงื่อนไขกลับ การทดลองของเมรีโจน
ปีเตอร์ อายุ 3 ขวบ กลัวหนูขาวเหมือนอัลเบิร์ต
1. ให้ปีเตอร์เข้าใกล้หนูขาว
- ร้องไห้กลัว
2. อุ้มด้วยความรักให้เล่นกับหนูขาว และทุกครั้งที่เข้าใกล้หนูขาวจะยื่นขนมให้
- ไม่กลัว
3. ให้เล่นกับหนูขาวอย่างเดียว
- เล่นกับหนูขาวอย่างมีความสุข
ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยงของ ธอร์นไดค์
1. ทฤษฎีลองผิดลองถูก
2. การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
3. การทดลองของธอร์นไดค์
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ บลูม
วัน อังคาร ที่ 23 สิงหาคม พ. ศ. 2559 เวลา 08.30 - 12.30 น.
คุณครูได้มอบหมายงานให้นักศึกษา สรุปความรู้เรื่องรูปแบบการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
สรุปได้ดังนี้
รูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย
คุณลักษณะตามวัยของเด็ก
เด็กที่มีอายุ 3 ปี
พัฒนาการด้านร่างกาย
- วิ่งแล้วหยุดโดยไม่ล้ม
- รับลูกบอลด้วยมือและลำตัว
- เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้
- วาดและระบายสีอิสระได้
พัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ
- แสดงอารมณ์ตามความรู้สึก
- ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจและได้คำติชม
- กลัวการพลัดพรากจากผู้เลี้ยงดู ผู้ใหญ่ใกล้ชิดน้อยลง
พัฒนาการด้านสังคม
- รับประทานอาหารได้ด้วยตนเอง
- ชอบเล่นแบบคู่ขนานคือเล่นของเล่นชิ้นเดียวกันแต่ต่างคนต่างเล่น
- เล่นบทบาทสมมติได้
- รู้จักรอคอย
พัฒนาการด้านสติปัญญา
- สำรวจสิ่งต่างๆที่เหมือนกันและแตกต่างกันได้
- บอกชื่อของตนเองได้
- ขอความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาได้
- สนทนาโต้ตอบ เล่าเรื่องด้วยประโยคสั้นๆได้
- สนใจนิทานและเรื่องราวต่างๆ
เด็กที่มีอายุ 4 ปี
พัฒนาการด้านร่างกาย
- กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้
- รับลูกบอลด้วยมือทั้งสองข้าง
- เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าได้
- ตัดกระดาษเป็นเส้นตรงได้
- กระฉับกระเฉงไม่ชอบอยู่เฉย
พัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ
- แสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
- เริ่มรู้จักชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
- ชอบทาทายผู้ใหญ่
- ต้องการให้มีคนฟังคนสนใจ
พัฒนาการด้านสังคม
- แต่งตัวได้ด้วยตนเอง ไปห้องน้ำได้เอง
- เล่นร่วมกับผู้อื่นได้รอคอยตามลำดับก่อน-หลัง
- แบ่งของให้คนอื่น
- เก็บของเล่นเข้าที่ได้
พัฒนาการทางสติปัญญา
- จำแนกสิ่งต่างๆด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้
- บอกชื่อและนามสกุลของตนเองได้
- พยายามแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหลังจากได้รับคำชี้แนะ
- สนทนาโต้ตอบ เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่างต่อเนื่อง
เด็กที่มีอายุ 5 ปี
พัฒนาการด้านร่างกาย
- กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องได้
- รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นได้ด้วยมือทั้งสอง
- เดินขึ้นลงบันไดสลับเท้าอย่างคล่องแคล่ว
- เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้
- ตัดกระดาษแนวเส้นโค้งที่กำหนด
- ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กได้ดี
พัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ
- แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสม
- ชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น
- ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางน้อยลง
พัฒนาการด้านสังคม
- ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
- เล่นหรือทำงานโดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกับผู้อื่นได้
- พบผู้ใหญ่รู้จักไหว้ทำความเคารพ
- รู้จักขอบคุณเมื่อได้รับของจากผู้ใหญ่
- รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
- พัฒนาการด้านสติปัญญา
- บอกความแตกต่างของกลิ่น สี เสียง รส รูปร่าง จำแนกและจัดหมวดหมู่สิ่งของได้
- บอกชื่อนามสกุลและอายุของตนเองได้
- พยายามหาวิธีแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
- สนทนาโต้ตอบเล่าเป็นเรื่องราวได้
ทฤษฎีการเรียนรู้
การทดลองของพาฟลอฟ
1. สุนัข (กำลังหิวจัด)
2. เครื่องวัดน้ำลาย
3. ผงเนื้อ
4. กระดิ่ง
ขั้นการทดลอง
1 วางเงื่อนไข
1.1 ให้ผงเนื้อ , น้ำลายไหล
1.2 เคาะกระดิ่ง , น้ำลายไม่ไหล
2 ขณะกำลังวางเงื่อนไข
2.1 ให้ผงเนื้อ+เคาะกระดิ่ง, น้ำลายไหล
3 หลังจากการวางเงื่อนไข
3.1 เคาะกระดิ่ง,น้ำลายไหล
จากทฤษฎีนี้สำหรับเด็กปฐมวัย ควรใช้คำชมแทน
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน การทดลองของวัตสัน
- ความรู้สึกบางอย่างมีตั้งแต่กำเนิด
- อุปกรณ์ทดลอง
- เด็กชายอัลเบิร์ต อายุ 11 เดือน
- หนูขาว
- เหล็ก
การทดลอง
1. อัลเบิร์ต เล่นกับหนูขาว
- ยิ้มแย้มอย่างมีความสุข
2. ตีเหล็กให้เกิดเสียงดังทุกครั้งที่อัลเบิร์ตจะจับหนูขาว
- ร้องไห้กลัว
3. ยื่นหนูขาวอย่างเดียวให้อัลเบิร์ต
- ร้องไห้กลัว
การวางเงื่อนไขกลับ การทดลองของเมรีโจน
ปีเตอร์ อายุ 3 ขวบ กลัวหนูขาวเหมือนอัลเบิร์ต
1. ให้ปีเตอร์เข้าใกล้หนูขาว
- ร้องไห้กลัว
2. อุ้มด้วยความรักให้เล่นกับหนูขาว และทุกครั้งที่เข้าใกล้หนูขาวจะยื่นขนมให้
- ไม่กลัว
3. ให้เล่นกับหนูขาวอย่างเดียว
- เล่นกับหนูขาวอย่างมีความสุข
ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยงของ ธอร์นไดค์
1. ทฤษฎีลองผิดลองถูก
2. การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
3. การทดลองของธอร์นไดค์
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ บลูม
1. ความรู้ที่ได้เกิดจากความจำ
2. ความเข้าใจ
3. การประยุกต์
4. การวิเคราะห์
5. การสังเคราะห์
6. การประเมินค่า
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์
- ความรู้ถูกสร้างหรือหล่อหลอมโดยประสบการณ์
- ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
- ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ
- ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
- ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง
- เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์
1. ความต่อเนื่อง การเปิดโอกาสให้การฝึกในกิจกรรมและประสบการณ์บ่อยๆและต่อเนื่องกัน
การจัดช่วงลำดับ ในการจัดกิจกรรมให้มีการเรียงลำดับก่อนหลังเพื่อให้ได้เรียนรู้เนื้อหาได้อย่างลึกซึ้ง
2. บูรณาการ การจัดประสบการณ์จึงควรเป็นในลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความคิดเห็นและแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกัน เนื้อหาผู้เรียนเป็นการเพิ่มความสามารถได้ทั้งหมด
หลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
กีเซล เชื่อว่าพัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนและเป็นขั้นตอน เด็กควรพัฒนาไปตามธรรมชาติ
ซิกมันด์ฟรอยด์ เชื่อว่าประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพ หากไม่ได้รับการตอบสนองจะถดถอย
อีริคสัน เชื่อว่าถ้าเด็กพอใจเด็กจะมองโลกในแง่ดีถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีไม่พอใจเด็กจะมองโลกในแง่ร้าย
เพียเจต์ เชื่อว่าพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเด็ก เกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและมีการปรับตัวขยายประสบการณ์เดิม
ดิวอี้ เชื่อว่าเด็กเรียนรู้โดยการกระทำ
สกินเนอร์ เชื่อว่าถ้าเด็กได้รับการชื่นชมเด็กจะสนใจทำต่อไปและเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน
เปตารอสซี่ เชื่อว่าความรักเป็นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการพัฒนาเด็ก ไม่ควร บังคับเรียนด้วยการท่องจำ
เอลคายน์ เชื่อว่า การเร่งรัดเด็ก ให้เรียนรู้ แต่เป็น อันตรายและเด็กควรได้เลือกเล่นกิจกรรมด้วยตนเอง
ทักษะที่ได้รับ
- ทักษะการอ่าน
2. ความเข้าใจ
3. การประยุกต์
4. การวิเคราะห์
5. การสังเคราะห์
6. การประเมินค่า
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์
- ความรู้ถูกสร้างหรือหล่อหลอมโดยประสบการณ์
- ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
- ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ
- ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
- ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง
- เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์
1. ความต่อเนื่อง การเปิดโอกาสให้การฝึกในกิจกรรมและประสบการณ์บ่อยๆและต่อเนื่องกัน
การจัดช่วงลำดับ ในการจัดกิจกรรมให้มีการเรียงลำดับก่อนหลังเพื่อให้ได้เรียนรู้เนื้อหาได้อย่างลึกซึ้ง
2. บูรณาการ การจัดประสบการณ์จึงควรเป็นในลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความคิดเห็นและแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกัน เนื้อหาผู้เรียนเป็นการเพิ่มความสามารถได้ทั้งหมด
หลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
กีเซล เชื่อว่าพัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนและเป็นขั้นตอน เด็กควรพัฒนาไปตามธรรมชาติ
ซิกมันด์ฟรอยด์ เชื่อว่าประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพ หากไม่ได้รับการตอบสนองจะถดถอย
อีริคสัน เชื่อว่าถ้าเด็กพอใจเด็กจะมองโลกในแง่ดีถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีไม่พอใจเด็กจะมองโลกในแง่ร้าย
เพียเจต์ เชื่อว่าพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของเด็ก เกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและมีการปรับตัวขยายประสบการณ์เดิม
ดิวอี้ เชื่อว่าเด็กเรียนรู้โดยการกระทำ
สกินเนอร์ เชื่อว่าถ้าเด็กได้รับการชื่นชมเด็กจะสนใจทำต่อไปและเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน
เปตารอสซี่ เชื่อว่าความรักเป็นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการพัฒนาเด็ก ไม่ควร บังคับเรียนด้วยการท่องจำ
เอลคายน์ เชื่อว่า การเร่งรัดเด็ก ให้เรียนรู้ แต่เป็น อันตรายและเด็กควรได้เลือกเล่นกิจกรรมด้วยตนเอง
ทักษะที่ได้รับ
- ทักษะการอ่าน
- ทักษะการสรุปองค์ความรู้
- ทักษะการเขียนสรุป
เทคนิคการสอน
- การให้ทำกิจกรรม
- เปิดโอกาสให้นักศึกษา ศึกษาด้วยตนเอง
การนำไปประยุกต์ใช้
นำความรู้ ไปดำเนินการสอน เพื่อกระตุ้นให้เด็กมีความพร้อมในการเรียน และสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนให้น่าสนใจ
เทคนิคการสอน
- การให้ทำกิจกรรม
- เปิดโอกาสให้นักศึกษา ศึกษาด้วยตนเอง
การนำไปประยุกต์ใช้
นำความรู้ ไปดำเนินการสอน เพื่อกระตุ้นให้เด็กมีความพร้อมในการเรียน และสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนให้น่าสนใจ
การประเมินผล
ประเมินตนเอง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน
ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจฟังคุณครูอธิบายรายละเอียดของรายวิชาอย่าง เรียบร้อย
ประเมินคุณครู คุณครูเเปิดโอกาสให้นักศึกษา ศึกษาด้วยตนเอง
การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
การมีระเบียบวินัยต่อตนเอง
การมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง
ประเมินตนเอง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน
ประเมินเพื่อน เพื่อนตั้งใจฟังคุณครูอธิบายรายละเอียดของรายวิชาอย่าง เรียบร้อย
ประเมินคุณครู คุณครูเเปิดโอกาสให้นักศึกษา ศึกษาด้วยตนเอง
การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
การมีระเบียบวินัยต่อตนเอง
การมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น